Search This Blog

Saturday, March 9, 2013

#งานวิจัยนักศึกษา (งานกลุ่ม) : "การเรียนภาษาญี่ปุ่นผ่านการ์ตูนญี่ปุ่น"

 

**งานวิจัยนี้เป็นงานวิจัยกลุ่ม เพื่อการฝึกหัดการทำวิจัยเบื้องต้น ข้อมูลบางประการอาจยังไม่สามารถนำมาอ้างอิงเชิงวิชาการได้***

 -----------------------------------------------------------

บทคัดย่อ

ชื่องานวิจัย

 งานวิจัย เรื่อง การเรียนภาษาญี่ปุ่นผ่านการ์ตูนญี่ปุ่น

ชื่อผู้วิจัย

1. คณนาถ          เจียวท่าไม้

2. จิตรเมศ          จินดาเกียรติ

 3. จิรปรียา          ฮวดกุล 

 4. จริยา              เจริญศิริพรกุล

5. ณัฐพัชร์         ตั้งสมบูรณ์

6. ณัฐวิทย์          อภิรักษ์ขิต

7. ธัญธร            วรรณบุตร

8. นิชนันท์         สุรัตนกวีกุล

9. วรรณฑิณี       อัศวกวินทิพย์     

10. วราภรณ์       ศรีริเกตุ

   11. สุทธิเกียร      ติสุภารัตน์

 12. สัญญา          ขาวลิขิต

13. สลิลทิพย์      บุญยิ่งยง

14. อัฏฐญาณ      เรืองมาลัย                     

ปีที่ทำการวิจัย :   2556

…………………………………………………………………………….…………………………………

งานวิจัยฉบับนี้ มีจุดประสงค์เพื่อที่จะแสดงให้เห็นถึงความคิดเห็นและทัศนคติที่นักศึกษากลุ่มตัวอย่างจากคณะบริหารธุรกิจ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ และคณะวิศวกรรมศาสตร์ สถาบันเทคโนโลยีไทย-ญี่ปุ่น มีต่อการเรียนรู้ภาษาญี่ปุ่นผ่านทางการรับชม และการอ่านการ์ตูนญี่ปุ่น โดยดำเนินงานศึกษาวิจัย ผ่านการใช้คำถามเชิงคุณภาพซึ่งเป็นคำถามปลายเปิดเพื่อต้องการทราบความคิดเห็นจากนักศึกษากลุ่มตัวอย่าง จากการสอบถามทำให้ทราบว่านักศึกษากลุ่มตัวอย่างนั้นใช้เวลาในการบริโภคสื่อประเภทการ์ตูนญี่ปุ่นหลายชั่วโมงต่อวันจึงทำให้ได้เรียนรู้คำศัพท์จากการดูการ์ตูนและสามารถนำมาใช้ได้ในชีวิตประจำวันได้บ้าง แต่ไม่สามารถนำไปใช้ได้กับการทำงานได้ อันเนื่องมาจาก ในการทำงานจริงต้องใช้ภาษาสุภาพและต้องพูดให้ถูกหลักไวยากรณ์  นอกจากนี้นักศึกษากลุ่มตัวอย่างยังเสนอแนะเพิ่มเติมอีกว่าทางสถาบันควรจะเพิ่มการเรียนการสอนผ่านสื่อประเภท การ์ตูน เพลง เพื่อดึงดูดความสนใจในภาษาญี่ปุ่นของนักศึกษาของทางสถาบันให้มากขึ้น

 Abstract

Research Title : 

The research of studying Japanese by Reading Japanese comic book

Author :              

1. Kananart        Chiewtamai

2. Jittamed         Jindakiat

3. Jirapreeya      Hoadkul

4. Jariya            Chareonsiripornkun                   

5. Nuttapatch     Tangsomboon

6. Nuttawit        Apirugkhit

7. Thanyathorn   Wannabout

8. Nitchanun      Suratanakavikul

9. Wantinee       Assawakawintip

10. Varaporn      Sririkate

            11. Sutikiat        Suparat

12. Sunya          Khaolikhit

13. Salintip        Boonyingyong

14. Attayarn       Ruangmalai

Year :

 2013

……………………………………………………………………………...

The purpose of the research is to present the sample students from The Faculty of Business Administration, Information Technology and Engineering, Thai-Nichi Institute of Technology’s comments and attitudesthat they have to studying Japanese by Reading Japanese comic book (or Manga). The research is done through the qualitative questions which are open-ended questions because researchers need various comments from the sample students.

The research’s result lets researchers know that the sample students spend many hours a week reading and watching Japanese comic book, due to it they learn many Japanese vocabulariesand bring some of them using in daily life conversation but they can’t use it in working because in the real working situation, they must use the polite form and formal form of Japanese. Besides, the sample students advise that the institution needs increasing the Japanese teaching by Japanese media; Japanese comic book and Japanese song.

กิตติกรรมประกาศ

 งานวิจัยเรื่องนี้  สำเร็จลุล่วงลงไปได้ด้วยดีด้วยความอนุเคราะห์และการสนับสนุนของ อาจารย์ณัฐพลจารัตน์ อาจารย์ประจำคณะบริหารที่ให้คำแนะนำในการวิจัย , การทำรูปเล่ม และความช่วยเหลือต่างๆ และขอขอบคุณ นักศึกษากลุ่มตัวอย่าง คณะบริหารธุรกิจ , คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ , คณะวิศวกรรมศาสตร์      ที่ได้ให้ความร่วมมือในการสัมภาษณ์งานทำวิจัยในครั้งนี้

คณะผู้จัดทำ

 1 มีนาคม 2556

 ***************************

 ผู้ที่สนใจสามารถอีเมลมาขอรายละเอียดภายในรายงานวิจัยนี้ได้ครับ

 

Monday, October 29, 2012

第1課 場面別会話 <新製品の開発を目指す企画会議で(報告・連絡・相談)> Japanese for Management 2 (JPN-408)

 第1課 場面別会話

<新製品の開発を目指す企画会議で(報告・連絡・相談)>

商品開発部第一課 係長:(会議予定(よてい)時間から5分後でも2名の課員が来ないので、少しイライラしながら)予定時
                  
間を5分もオーバーしましたから、だだいまから新商品開発のための第2回目の企画会議を行います。A君とB君
                  
がまだ来ていないようだけど・・・どうしたの。

社員A: 二人ともまだ食堂から帰っていません。午前中お客さんからの苦情(くじょう)処理(しょり)(いそが)しかったので、お昼ごはん
    を食べるのが(おそ)くなったようです・・・

係 長: それは知ってるけど、(おく)れるんだったら連絡しなきゃだめだよなあ。まだまだだなあ、「報・連・相 」。 (ほか)の人も気を付けてね。課長、次の会があるのに遅れて申し(わけ)ございません。まず、課長から一言(ひとこと)お願いします。

課 長:  私の話は最後(さいご)にするから、君たちの企画をじっくり聞かせてほしい。時間もかなり()ぎたし。すぐ始めなさい。

係 長; はい、かしこまりました。先月の第1回会議で、新製品は、E君が考案した「(てい)カロリーのお菓子(かし)」に決定しま
    したが、今日は、そのキャッチフレーズを決めたいと思います。それじゃ、(だれ)でもいいから始めて。

社員B: (自主的に手を上げて)はい。手元(てもと)の提案書の5番をご(らん)ください。私は「おいしく食べてねローカロリ
    ー」を提案(ていあん)します。CMソングも同じテーマにしたいと思います。提案理由は・・・・(発表(はっぴょう)議論(ぎろん)が続き、
    15分後、社員Fの説明中にAとBがあわてて入室)・・・

社員C ・D: すみません。午前中、苦情(くじょう)処理(しょり)で忙しかったものですから(C)。申し訳ございません(D)。

係 長: 分かっているんだよ、そんなことは。食堂に行く前に連絡しなきゃダメだよ。こんな時にビジネスマンがとる
    べき行動(こうどう)の基本は何だ? 業務遂行(すいこう)の心得は何だ?C君。

社員C: はい、「報・連・相」です。

係 長: 分かっているのにどうしてできないんだよ。 D君は? 他にないか。
社員D: はい、それと「顧客本位(ほんい)」だと思います。常にお客様の立場(たちば)に立って行動(こうどう)することです。

係 長: なるほど。でもね、君にとって顧客とは何だね。

社員D: はい、取引をするお客様です。

係 長: もちろん、顧客の(もっと)(せま)い意味は取引の相手(あいて)=お客様だよ。でも、もっと広く考えれば、相手=君以外(いがい)
    の人=他人(たにん)(さま)なんだよ。(きみ)以外(いがい)は皆お客様であり、顧客であると思って自己(じこ) (くんれん)しなきゃダメだよ。仕事中は  
    同僚(どうりょう)も上司も顧客だと思いなさい。皆が連絡もしないで顧客と会う時間に遅れてたらこの会社は 倒産(とうさん)しちゃう
    ぞ! 

社員C・D: はい、申し訳ありませんでした。

係 長: 課長、どうしましょうか。

課 長:  C君とD君はデスクですぐ苦情(くじょう)処理(しょり)の報告書を書きなさい。報告を受けた後で、君達の提案書に関する評価を

する。基本的には君達の今回の提案(ていあん)はボツだ。以後(いご)()(つけ)けなさい。

社員D: はい。ご迷惑をおかけしました。(のち)ほどご指導をお願いします。

社員C: すみませんでした。私も後ほどご指導お願いします。