Search This Blog

Showing posts with label Business Japanese. Show all posts
Showing posts with label Business Japanese. Show all posts

Sunday, May 14, 2023

คาด..ญี่ปุ่นขนาดเศรษฐกิจอันดับที่ 4 ของโลกในปี 2028


IMF คาดการณ์ประเทศที่มีเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดอันดับโลกในปี 2028 ปรากฏข้อมูลคาดการณ์ว่าประเทศที่เขตเศรษฐกิจใหญ่เป็นอันดับ 1 คือสหรัฐอเมริกา ถัดมาคือประเทศจีน อินเดียญี่ปุ่นและเยอรมนี ตามลำดับ 1-5 อย่างไรก็ตามจะเห็นได้ว่า อินเดีย ก้าวขึ้นมาเป็นอันดับ 3 ส่วนญี่ปุ่นตกลงไปเป็นอันดับที่ 4 นับจากนี้ไปอันดับของญี่ปุ่นน่าจะตกลง ตามลำดับไปเรื่อยๆ ซึ่งการตกลงไปเป็นลำดับนั้นไม่ได้หมายความว่าญี่ปุ่นจะ มีอำนาจทางเศรษฐกิจที่แย่ลงแต่ เป็นภาวะ การเปลี่ยนผ่านไปยังกลุ่มประเทศเศรษฐกิจใหม่ที่เติบโตขึ้น ตามลำดับ ขอบคุณข้อมูลจาก IMF

World's biggest economies in 2028, projected by IMF:

🇺🇸 United States: $32.3 trillion
🇨🇳 China: $27.4 trillion
🇮🇳 India: $5.5 trillion
🇯🇵 Japan: $5.3 trillion
🇩🇪 Germany: $5 trillion
🇬🇧 United Kingdom: $4.2 trillion
🇫🇷 France: $3.3 trillion
🇧🇷 Brazil: $2.7 trillion
🇨🇦 Canada: $2.6 trillion
🇮🇹 Italy: $2.4 trillion
🇷🇺 Russia: $2.2 trillion
🇰🇷 South Korea: $2.1 trillion
🇮🇩 Indonesia: $2 trillion
🇦🇺 Australia: $2 trillion
🇲🇽 Mexico: $2 trillion
🇪🇸 Spain: $1.7 trillion
🇹🇷 Turkey: $1.3 trillion
🇳🇱 Netherlands: $1.2 trillion
🇸🇦 Saudi Arabia: $1.2 trillion
🇨🇭 Switzerland: $1.1 trillion
🇵🇱 Poland: $1 trillion
🇹🇼 Taiwan: $0.99 trillion
🇳🇬 Nigeria: $0.9 trillion
🇹🇭 Thailand: $0.7 trillion
🇮🇪 Ireland: $0.7 trillion
🇧🇩 Bangladesh: $0.7 trillion
🇻🇳 Vietnam: $0.7 trillion
🇦🇷 Argentina: $0.7 trillion

ความเห็นส่วนตัวต่อข้อมูลนี้ เมื่อมองประเด็นการขึ้นเป็นเบอร์ต้น ๆ ของโลก มีผลให้การเรียนภาษาของประเทศนั้น ๆ เป็นที่สนใจ เช่น ญี่ปุ่นช่วงที่เศรษฐกิจขับเคลื่อนโลก มีจำนวนผู้เรียนภาษาญี่ปุ่นทั่วโลกเป็นจำนวนมาก มหาวิทยาลัยต่าง ๆ ทั่วโลก เปิดหลักสูตรภาษาญี่ปุ่น ญี่ปุ่นศึกษา (Japanese studies) นั่นหมายความว่า การเรียนเรื่องราวของประเทศญี่ปุ่นเป็นที่น่าสนใจจริง ๆ ถึงได้เปิดสอนเป็นวิชาเฉพาะ 

สำหรับคนที่เรียนภาษาต่างประเทศในเมืองไทย ภาษาญี่ปุ่นยังได้รับความนิยมและมีงานรองรับมากกว่าภาษาจีน เกาหลี อย่างไรก็ตามทั้งสองภาษาได้รับความนิยมจาก soft power สิ่งที่น่าสนใจ คือ ญี่ปุ่นจะยังคงมัดใจและยังอยู่เป็นภาษาแนวหน้าในกลุ่มภาษาต่างประเทศที่ได้รับความนิยมในเมืองไทยได้อีกนานเท่าไร 

ณัฐพล จารัตน์
กรุงเทพมหานคร
14.05.2566

ข้อมูล

Wednesday, April 26, 2023

知られざるタイ人の性格や特徴7選 : 7 นิสัยและเอกลักษณ์ของคนไทยที่คุณยังไม่รู้

2-3 วันก่อน เพื่อนชาวญี่ปุ่นส่งลิ้งก์นี้ [https://thailand-navi.com/thai-personality] เป็นบทความภาษาญี่ปุ่นชื่อบทความ 知られざるタイ人の性格や特徴7選 (7 นิสัยและเอกลักษณ์ของคนไทยที่คุณยังไม่รู้)

ผู้เขียนบทความนี้ ผมก็ไม่ทราบว่าเขียนจากมุมมองของชาวญี่ปุ่นเองหรือเป็นคนไทยเขียน เป็นบทความที่น่าสนใจสำหรับการมองแนวคิดเชิงความแตกต่างทางวัฒธรรมธรรม การบริหารทรัพยากรมนุษย์แบบญี่ปุ่น หรือการบริหารธุรกิจแบบญี่ปุ่น เพื่อความเข้าใจระหว่างกันของคนไทยกับญี่ปุ่น ขออนุญาตแปลและเรียบเรียงเสริมเป็นภาษาไทย

มุมมองทั้งหมด 7 ข้อ ตามบทความนี้ เริ่มกันนะครับ


มุมมองที่ 1 คนไทยอยู่บนหลักการ "ไม่เป็นไร" (อาจหมายความว่า "คนไทยอะไร ๆ ก็ไม่เป็นไร")
ผู้เขียนบรรยายว่า คำว่า "ไม่เป็นไร" ของคนไทยนั้น อาจมีหลายความหมาย เช่นหมายถึง ไม่เป็นไร ไม่แคร์ เดี๋ยวมันก็ผ่านไปได้ ไม่ต้องคิดมาก ให้อภัยเถอะ หรือแม่แต่เป็นการแสเงความขอบคุณหรือแสดงความยินดี ก็ได้ในบางกรณี จะได้ยินคนไทยพูดบอกมาก ๆ ในแต่ละวันในหลายบริบทของการสนทนา แต่สิ่งสำคัญหคือความหมายลึก ๆ ของ "ไม่เป็นไร" แสดงถึง นิสัยใจคอและลักษณะนิสัยของคนไทยที่มีรากฐานจากการรักสงบ รักสันติ และให้อภัย

สำหรับคนญี่ปุ่น "ไม่เป็นไร" ดูจะเป็นเรื่องที่ "ไม่ไม่เป็นไร" ภาษาญี่ปุ่นน่าจะใกล้เคียงกับคำว่า 大丈夫 (ไดโจบุ : Daijobu) การพูดไม่เป็นไรเป็นการปัดความรับผิดชอบหรือแสดงออกถึงการไม่รู้สำนึกของการกระทำที่ผิดพลาด ไม่ใช่ทุกเรื่องที่จะให้อภัย คนญี่ปุ่นอาจไม่เข้าใจได้ว่า คนไทยจะให้อภัยหรือแล้วต่อกันง่าย ๆ เพียงคำว่า "ไม่เป็นไร" เท่านั้นหรอ

ในมุมมองของผมเอง รากฐานสำคัญของ "ไม่เป็นไร" ได้รับอิทธิพลจากหลักธรรมของศาสนาพุทธ หลักการให้อภัย การไม่คิดพยาบาท เลิกแล้วต่อกันไม่เป็นกรรมเวรต่อกัน หรืออีกนัยคือ การอโหสกรรม โดยการใช้คำลำลองจาก "อโหสิกรรม" แทนด้วย "ไม่เป็นไร"  เมื่อให้อภัยก็จะได้บุญกุศล

ไม่ทราบว่าพี่ ๆ คิดเห็นอย่างไรบ้างครับ

มุมมองที่ 2 คนไทยชอบพูดเรื่องส่วนตัว 
ทำความเข้าใจคำว่า "เรื่องส่วนตัว" ในมุมของคนญี่ปุ่นจะหมายถึง เช่น พอตัวเองรู้สึกอ้วน พอเจอเพื่อนที่ทำงานก็จะบอกว่า ตัวเองอ้วนขึ้น หรือแต่งหน้าไม่สวยก็จะบอกว่าวันนี้แต่งหน้าไม่สวย วันนี้ไม่อาบน้ำ วันนี้ไม่ได้ทานข้าวเช้า เป็นต้น คนไทยเองเจอหน้ากันก็จะพูดแบบไม่ได้คิดว่ามันเป็นเรื่องที่ต้องเป็นความลับหรือเป็นเรื่องส่วนตัวที่ไม่อยากให้ใครรู้ เทียบกับคนญี่ปุ่น ถ้าเราไปบอกว่า ไม่ได้เจอกันนานเลยเธอดูอ้วนจัง เธอหนักเท่าไร คนญี่ปุ่นที่ถูกถามคงแสดงความไม่พอใจ เพราะมันเป็นเรื่องส่วนตัว หรืออาจมองได้ว่าเป็นการบูลลี่ด้วยวาจาก็ได้

ในข้อด้วยย่อมมีข้อดี แม้ว่าเรื่องส่วนตัวในมุมมองของคนญี่ปุ่นดูเป็นเรื่องต้องระมัดระมัง แต่การพูดเรื่องส่วนตัวเชิงบวก เช่น เธอสวยจังเลย เสื้อเธอสวยจังซื้อที่ไหน นาฬิกาไฮโซจังเลย สำหรับหลาย ๆ คนดีใจที่ได้รับการพูดเชิงชมเชย

ฉะนั้น คนญี่ปุ่นจึงไม่สามารถตัดสินได้ว่า การพูดเรื่องส่วนตัวของคนไทยเป็นเรื่องที่ผิดวิสัย แต่การที่คนญี่ปุ่นมาอยู่ไทยแล้วไม่พูดเรื่องส่วนตัวนี่แหละเป็นเรื่องแปลก เป็นเรื่องของความแตกต่างทางวัฒนธรรมของไทยกับญี่ปุ่น ที่จะต้องใช้หลักการบริหารข้ามวัฒนธรรมแบบญี่ปุ่นมาช่วยอธิบาย

มุมมองที่ 3 คนไทยมีปฏิกิริยาเกินจริงในโรงภาพยนตร์

ในมุมมองนี้ เมื่อนานมาแล้ว ผมได้ดูหนังเรื่อง สตรีเหล็ก ที่เข้าฉายที่ญี่ปุ่น ทั้ง ๆ ที่มีฉากตลกหรือฉากที่ดูตกใจ คนญี่ปุ่นในโรงหนังนั่งนิ่ง จะหัวเราะเบา ๆ มีผมที่หัวเราะจนเพื่อนญี่ปุ่นที่ไปด้วยกันสะกิดให้หัวเราะเบา ๆ ในญี่ปุ่น เป็นเรื่องปกติที่จะเงียบที่สุดเท่าที่จะทำได้ แต่โรงภาพยนตร์ของไทยแตกต่างออกไป เมื่อมีฉากตลกก็จะมีเสียงหัวเราะหรือเสียงตบมือดังขึ้นแบบไม่ต้องแคร์สื่อ ก็เพราะมันเป็นหนังตลกถูกไหม ถ้าจะให้กลั้นหัวเราะจะไปเสียเงินดูทำไม เราไปดูก็เพราะอยากหัวเราะ ดูเพื่อความบันเทิง ไม่ดูเพื่อเก็บกดความรู้สึก พี่ ๆ ไม่ต้องคิดเลยว่าถ้าคนญี่ปุ่นดูหนังเศร้า หรือหนังผีน่ากลัว ๆ คงจะนิ่ง ๆ แต่สำหรับคนไทย ดูหนังสือเศร้าเราก็ร้องไห้เปิดเผย จะหรี๊ดตอนผีกระโดดออกมา เราก็กรี๊ดดังลั่นไม่มีใครจะสนใจ ลักษณะของคนญี่ปุ่นจะเก็บความรู้สึก รักษาอารมณ์ไม่แสดงออกชัดเจน หลายครั้งที่คนต่างชาติไม่อาจเข้าใจความรู้สึกที่แท้จริงของคนญี่ปุ่นได้

มุมมองที่ 4 ผุ้ชายไทยใจดีแต่ชอบนอกใจ
สาว ๆ ชาวญี่ปุ่นมองว่า ผู้ชายไทยนิสัยดี มีความเป็นสุภาพบุรุษทั้งคำพูดและการกระทำที่เปิดเผยชัดเจน แต่ขึ้นชื่อเรื่องการนอกใจเป็นที่หนึ่ง เช่น ผู้ชายไทยช่วยถูกของให้ผู้หญิง ซึ่งผู้ชายญี่ปุ่นไม่ทำ ผู้ชายไทยมักเป็นผู้จ่ายมากกว่าจะแชร์ ซึ่งผู้ชายญี่ปุ่นไม่ทำ ผู้ชายไทยพูดจาอ่อนหวาน ชมฝ่ายหญิงเสมอ ซึ่งผู้ชายญี่ปุ่นไม่ทำ เรื่องสำคัญที่สาวญี่ปุ่นชอบชายไทย คือ ผู้ชายไทยช่วยทำงานบ้าน ช่วยเลี้ยงลูก ซึ่งผู้ชายญี่ปุ่นส่วนใหญ่ไม่ช่วย


มุมมองที่ 5 สาวไทยมีนิสัยห่วงไยแต่ขี้หึง
ความห่วงไยกับขี้หึงเป็นเรื่องที่เข้าใจและแยกไม่ได้ ตอนไหนห่วงไย ตอนไหนหึง แม้กระทั้งตอนโกรธยังไม่เข้าใจว่าโกรธแบบนี้คือโกรธแบบห่วงไย หรือแบบหึงหวง 
อย่างไรก็ตามไม่ว่าสาวไทยหรือสาวญี่ปุ่นก็เป็นเรื่องที่เข้าได้ยาก ถามว่าทำไมทำอย่างนั้น คนไทยจะตอบว่า "จะได้ทำบุญ" "คนนั้นน่าสงสาร" หรือ "จะได้ช่วยเล็ก ๆ น้อย ๆ บรรเทาความทุกข์อยากให้คนอื่น" ซึ่งที่ญี่ปุ่นการจะบริจาคให้ใคร จะคิดแล้วคิดอีก จนไม่ยอมควักกันง่าย ๆ

มุมมองที่ 6 คนไทยชอบช่วยเหลือผู้อื่นและชอบบริจาค
การชอบช่วยเหลือผู้อื่นนอกจากจะแสดงถึงนิสัยส่วนบุคคลแล้ว ยังยึดโยงกับศาสนาพุทธที่สอนให้ช่วยเหลือผู้อื่น สอนให้สละทรัพย์หรือเสียสละเพื่อคนที่ลำบากกว่าตนเอง คนไทยชอบไปวัด จะเห็นภาพการบริจาคเงินมากบ้างน้อยบางแล้วแต่บุคคล แต่ที่น่าแปลกใจคือ แม้ตนเองจะมีเงินไม่มากหรือจำเป็นที่ยังต้องใช้เงิน คนไทยก็กล้าจะบริจาคเงินจำนวนหนึ่งได้โดยไม่คิดว่าตนเองจะลำบาก

มุมมองที่ 7 คนไทยขอบโซเซียล
สิ่งที่น่าแปลกใจมาก คือ คนไทยโพสทุกอย่าง โพสรู้ตัวเอง กินอะไร ทำอะไร ไปที่ไหน ไปกับใคร ส่วนใหญ่จะเป็นภาพที่มีรูปตนเองมากกว่ารู้ที่จะอยากให้เห็นสถานที่ เช่น ไปเที่ยวทะเลที่มีชายหาดสวยงาม แต่จะได้เห็นรูปคนโพสบังวิวทะเล จนไม่รู้ว่าทะเลสวยหาดสวยเป็นอย่างไร รูปที่มีคนอื่น ๆ ติดไปด้วยก็จะไม่มีการเบลอภาพ และไม่ขออนุญาตคนอื่นที่มีภาพติดไปด้วย รูปภาพเด็กหรือแม้แต่รู้อุบัติเหตุคนไทยก็จะลงโดยไม่ปิดบังทั้ง ๆ ที่มันเป็นภาพส่วนบุคคลหรือไม่ใช้ภาพที่ตนเองมีความเกี่ยวข้อง

ทั้งหมดเป็นมุมมองเล็ก ๆ ที่มาจากบทความจากเว็บ [https://thailand-navi.com/thai-personality] ซึ่งผมขออนุญาตย้ำว่าไม่ได้แปลตรง ๆ ทุกตัวอักษรแต่ได้เพิ่มติดความเห็นส่วนตัวเรียบเรียงเสริมด้วย โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อให้เห็นมุมมองของบทความนี้ที่มีต่อสังคมไทย ซึ่งเป็นเพียงมุมมองเท่านั้น ที่แต่ละท่านมีประสงการณ์ต่างกัน ไม่ได้มุ่งสร้างความขัดแย้งทางวัฒนธรรมแต่ประการใด หวังว่าจะมีประโยชน์ต่อผู้สนใจ หากผิดพลาดประการใด ยินดีให้ผู้รู้ชี้แนะให้เหมาะสมครับ

ขอบคุณครับ
ありがとうございます。

twitter @NathJarat


Monday, October 29, 2012

第1課 場面別会話 <新製品の開発を目指す企画会議で(報告・連絡・相談)> Japanese for Management 2 (JPN-408)

 第1課 場面別会話

<新製品の開発を目指す企画会議で(報告・連絡・相談)>

商品開発部第一課 係長:(会議予定(よてい)時間から5分後でも2名の課員が来ないので、少しイライラしながら)予定時
                  
間を5分もオーバーしましたから、だだいまから新商品開発のための第2回目の企画会議を行います。A君とB君
                  
がまだ来ていないようだけど・・・どうしたの。

社員A: 二人ともまだ食堂から帰っていません。午前中お客さんからの苦情(くじょう)処理(しょり)(いそが)しかったので、お昼ごはん
    を食べるのが(おそ)くなったようです・・・

係 長: それは知ってるけど、(おく)れるんだったら連絡しなきゃだめだよなあ。まだまだだなあ、「報・連・相 」。 (ほか)の人も気を付けてね。課長、次の会があるのに遅れて申し(わけ)ございません。まず、課長から一言(ひとこと)お願いします。

課 長:  私の話は最後(さいご)にするから、君たちの企画をじっくり聞かせてほしい。時間もかなり()ぎたし。すぐ始めなさい。

係 長; はい、かしこまりました。先月の第1回会議で、新製品は、E君が考案した「(てい)カロリーのお菓子(かし)」に決定しま
    したが、今日は、そのキャッチフレーズを決めたいと思います。それじゃ、(だれ)でもいいから始めて。

社員B: (自主的に手を上げて)はい。手元(てもと)の提案書の5番をご(らん)ください。私は「おいしく食べてねローカロリ
    ー」を提案(ていあん)します。CMソングも同じテーマにしたいと思います。提案理由は・・・・(発表(はっぴょう)議論(ぎろん)が続き、
    15分後、社員Fの説明中にAとBがあわてて入室)・・・

社員C ・D: すみません。午前中、苦情(くじょう)処理(しょり)で忙しかったものですから(C)。申し訳ございません(D)。

係 長: 分かっているんだよ、そんなことは。食堂に行く前に連絡しなきゃダメだよ。こんな時にビジネスマンがとる
    べき行動(こうどう)の基本は何だ? 業務遂行(すいこう)の心得は何だ?C君。

社員C: はい、「報・連・相」です。

係 長: 分かっているのにどうしてできないんだよ。 D君は? 他にないか。
社員D: はい、それと「顧客本位(ほんい)」だと思います。常にお客様の立場(たちば)に立って行動(こうどう)することです。

係 長: なるほど。でもね、君にとって顧客とは何だね。

社員D: はい、取引をするお客様です。

係 長: もちろん、顧客の(もっと)(せま)い意味は取引の相手(あいて)=お客様だよ。でも、もっと広く考えれば、相手=君以外(いがい)
    の人=他人(たにん)(さま)なんだよ。(きみ)以外(いがい)は皆お客様であり、顧客であると思って自己(じこ) (くんれん)しなきゃダメだよ。仕事中は  
    同僚(どうりょう)も上司も顧客だと思いなさい。皆が連絡もしないで顧客と会う時間に遅れてたらこの会社は 倒産(とうさん)しちゃう
    ぞ! 

社員C・D: はい、申し訳ありませんでした。

係 長: 課長、どうしましょうか。

課 長:  C君とD君はデスクですぐ苦情(くじょう)処理(しょり)の報告書を書きなさい。報告を受けた後で、君達の提案書に関する評価を

する。基本的には君達の今回の提案(ていあん)はボツだ。以後(いご)()(つけ)けなさい。

社員D: はい。ご迷惑をおかけしました。(のち)ほどご指導をお願いします。

社員C: すみませんでした。私も後ほどご指導お願いします。 

雇用と労働 ภาษาญี่ปุ่นเพื่อการจัดการ 2

 雇用こよう労働ろうどう                                         

 雇用(こよう)契約(けいやく)とは、労務者(ろうむしゃ)労働者(ろうどうしゃ))が、使用者(しようしゃ)雇用(こよう)(ぬし))に(たい)して、労務(ろうむ)労働(ろうどう))を行うことを約束(やくそく)して、使用者(雇用主)がその労務(労働)に対して報酬(ほうしゅう)給与(きゅうよ)賃金(ちんぎん))を支払(しはら)うことを約束(やくそく)する契約である。雇用期間(きかん)が決められていない雇用形態(けいたい)正規(せいき)雇用であり、労働者は「(せい)社員」と呼ばれ、期間を定めた短期(たんき)契約の雇用形態は()正規雇用であり、労働者はその形態によって、パートタイマー契約社員派遣(はけん)社員などと呼ばれる。                                
 労働者は使用者にいつでも解約(かいやく)(退職)(もう)し入れることができるが、使用者から労働者に対する解約解雇(かいこ)(もう)し入れはいつでも自由(じゆう)に行われるものではない。                 
 一般的(いっぱんてき)に、解雇が可能(かのう)な例は、労働者が重大(じゅうだい)法律(ほうりつ)違反(いはん)をした場合(ばあい)就業(しゅうぎょう)規則(きそく)(しめ)された項目(こうもく)違反(いはん)した場合倒産(とうさん)などの回避(かいひ)目的(もくてき)とするための人員整理(せいり)(リストラ)として行なわれる場合(ばあい)などである。

 日本では、多くの国々と同じように、民法(みんぽう)627(じょう)によって無期(むき)雇用契約(期間が決められていない雇用契約:正規雇用)は自由に解約できる。しかし、これを労働基準法(きじゅんほう)(19条、20条、104条)や労働契約法(16条)等によって上乗(うわの)修正(しゅうせい)し、厳格(げんかく)規制(きせい)しているので、合理的(ごうりてき)理由がなければ解雇できない。また、少なくとも30日前に解雇の予告(よこく)をしなければならない。30日前の予告をしない場合(ばあい)は、30日に不足する賃金(解雇予告手当(てあ)て)を支払わなければならない

 しかし、欧米諸国(おうべいしょこく)ではこのような規制はなく、理由を()わず自由に解雇できる場合が多い。アメリカでは(しゅう)により(こと)なるが、カリフォルニア州では雇用契約は「employment at will」すなわち相互(そうご)の自由意志(いし)(もと)づくものとされ、無期雇用契約では使用者の判断(はんだん)特別(とくべつ)な理由なしにいつでも労働者を解雇できる。ただし、解雇予告手当ての支払いは必要。また40歳以上の労働者について年齢を理由にしたり、人種(じんしゅ)宗教(しゅうきょう)などの理由による解雇は違法(いほう)である。(参考(さんこう)fire layoff(ちが)い)

 課題: タイでは解雇の規制をどのように行っているか調べなさい。

経営学日本語用語集(408―第1課)<ビジネスの主役は報・連・相>

 経営学日本語用語集(408―第1課)<ビジネスの主役は報・連・相>

 

  1.情報を共有(きょうゆう)する                                                     

 

 2.指導(しどう)助言(じょげん)                                                                    

  3.進捗状況(しんちょくじょうきょう)                                                      

  4.トラブルを()ける                                                      

  5.仕事が完了(かんりょう)する                                                      

  6.完了報告                                

  7.()完了                                                                 

8.配布(はいふ)                                                             

9.結果(けっか)の報告                                                               

10信頼(しんらい)される=信頼を()()る                                                                

 

  11社内の信用(しんよう)(きず)                                                          

  12価値(かち)                                                            

13タイミングのよい「報・連・相」は会社のリスク管理になくてはならない()  
  本技(ほんわざ)である。